เคมี1



บิดาแห่งวิชาเคมี



โรเบิร์ต บอยส์  บิดาแห่งวิชาเคมี  (Robert Boyle – Father of Chemistry)


เกิดวันที่ 26 มกราคม ค.ศ. 1627 ที่เมืองมันสเตอร์ ประเทศไอร์แลนด์ (Ireland)
เสียชีวิต 30 ธันวาคม ค.ศ. 1691 ลอนดอน อังกฤษ
            บอยล์ เกิดมาในฐานะร่ำรวยเป็นชายคนสุดท้องของท่านเอิร์ลแห่งคอร์ด (Earl of Cord) ซึ่งเป็นขุนนางผู้มั่งคั่ง ฉะนั้นเขาจึงได้รัยการศึกษาที่ดี และได้รับการสนันสนุนอย่างดีจากบิดา การศึกษาเริ่มต้นจากวิทยาลัยอีตัน ซึ่งเป็นโรงเรียนประจำที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในอังกฤษ นอกจากนี้เขายังได้รับการศึกษาภาษาต่างๆ อีกเช่น อังกฤษ ละติน ฝรั่เศส กรีก ฮิบรู พออายุ 14 ปี เขาไปเรียนภาษาอิตาลี ที่ประเทศอิตาลี ทำให้เขาได้อ่านหนังสือวิททยาศาสตร์ เรื่อง “เรื่องประหลาดของนักดาราศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่” ของกาลิเลโอ นักดาราศาสตร์ชาวอิตาลี ทำให้เขามีแรงบันดาลใจ ที่อยากจะเป็นนักวิทยาศาสตร์ พอกลับมาเขาเข้าศึกษาต่อด้านวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยออกฟอร์ด และบิดาก็เสียชีวิตพร้อมมรดกมูลค่ามหาศาลไว้ให้แก่เขา หลังจบการศึกษาเขาก็เริ่มศึกษาทดลองอย่างจริงจัง งานชิ้นแรกคือเรื่อง “ผลึก” หาส่วนประกอบของธาตุต่างๆ และเรื่องวัดความกดอากาศ จนสามารถพัฒนาเทอร์โมมิเตอร์ของกาลิเลโอมาใช้ปรอทแทนน้ำต่อมาศึกษาเรื่อง “ความกดอากาศ” เกี่ยวกับสภาพไร้น้ำหนัก หรือสุญญากาศ จนทำให้เขาสามารถตั้งกฎของบอยล์ (Boyle’s Law) ซึ่งกล่าวไว้ว่า “ถ้าปริมาตรก๊าซคงที่ อุณหภูมิจะคงที่ สามารถปฏิภาคกลับกันกับความดันหรือถ้า ปริมาตรของก๊าซคงที่ ความดันคงที่ อุณหภูมิก็คงจะคงที่” สรุปได้ว่า ปริมาตรของก๊าชจะเพิ่ม – ลด ในอัตราส่วนทีเท่าเสมอกัน เช่นถ้าเพิ่มความกดดันขึ้น เป็น 1 เท่า ปริมาตรของอากาศจะลดลง 1 เท่า ถ้าเพิ่มความกดดันขึ้น เป็น 2 เท่า ปริมาตรของอากาศจะลดลง 2 เท่าซึ่งกฎของเขาได้รับการยอมรับมากในวงการฟิสิกส์ นอกจากนี้เขายังมีผลงานทางด้านหนังสือชื่อ The Secptical chemist ซึ่งเนื่องจะต่อต้านทฤษฎีของ อริสโตเติล เรื่องส่วนประกอบของธาตุต่างทั้งหลายในโลก 

ผลงานการค้นพบ 
            ตั้งกฎของบอยส์ (Boyle’s Law) ว่าด้วยเรื่องแรงดันอากาศ 
            ประดิษฐ์หลอดแก้วสุญญากาศ 
            ปรับปรุงเทอร์โมมิเตอร์ให้มีประสิทธิภาพ (จากกาลิเลโอ) และบาริมิเตอร์ 
            ค้นพบการเผาไหม้ของโลหะ




ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้